Main Menu
ไทย
Eng
Facebook
Instagram
Youtube
หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
ประวัติความเป็นมา
ผู้บริหารกรุงเทพมหานครฝ่ายข้าราชการการเมือง
ผู้บริหารกรุงเทพมหานครฝ่ายข้าราชการประจำ
ผู้บริหารสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว
ข่าวสาร
กิจกรรม
กิจกรรมประจำเดือน
นิทรรศการหมุนเวียน
กิจกรรมพิเศษ
ติดต่อเรา
แนะนำพพด.2(ทุ่งครุ)
แนะนำพพด.2(ทุ่งครุ)
แผนผังอาคารพิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานครแห่งที่ 2 (ทุ่งครุ)
หน้าแรก
ข่าวสาร
ข่าวสาร
กลับไปหน้าหลัก
ภาพพิมพ์วิทยาศาสตร์
การทำให้เกิดภาพบนกระดาษด้วยแสงถูกค้นพบโดย เซอร์ จอห์น เฮอร์เชล ในปี ค.ศ. 1842 โดยใช้สารประกอบบางชนิดของเหล็กที่มีสมบัติไวแสงเคลือบไว้บนกระดาษ เมื่อนำภาพหรือเอกสารต้นฉบับ มาวางทาบบนกระดาษไวแสง แล้วนำไปตากแดดและล้างออกด้วยน้ำเปล่า จะเกิดภาพขึ้นมาเป็นลวดลายขาวบนพื้นสีฟ้า เรียกการเกิดภาพแบบนี้ว่า Cyanotype หรือ Blueprint ที่เราเรียกว่า พิมพ์เขียวซึ่งเป็นเทคนิคที่นิยมใช้กับงานเขียนแบบงานก่อสร้าง
กิจกรรมภาพพิมพ์แสงอาทิตย์ เป็นกิจกรรมที่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้ปฏิกิริยาของสารเคมี 2 ตัว ได้แก่ Potassium Ferricyanide และ Ferric Ammonium Citrate เด็ก ๆ สามารถเข้าร่วมกิจกรรมภาพพิมพ์แสงอาทิตย์ ได้ที่ อาคาร 1 ชั้น 3 โซนวิทยาศาสตร์ค่ะ
แชร์