Main Menu
ไทย
Eng
ติดต่อเรา
แบบสอบถาม
โพลล์สำรวจ
สมัครสมาชิกห้องสมุด
Facebook
หน้าหลัก
ข้อมูลห้องสมุด
รู้จักหอสมุด
บริการ
หนังสือและสิ่งพิมพ์
ยืม-คืน อุปกรณ์
ห้องค้นคว้า
ห้องวีดีทัศน์
จอง/ขอใช้บริการ
ตู้ล็อกเกอร์
ฟรีอินเตอร์เน็ต
บริการอื่นๆ
อีบุ้คและมัลติมีเดีย
หนังสือและสิ่งพิมพ์
บรรณนิทัศน์ออนไลน์
หนังสือดีที่น่าอ่าน
นิตยสารดีที่น่าอ่าน
หนังสือใหม่
E-Books
บทความ
สาระน่ารู้
แหล่งความรู้อื่นๆ
สารสนเทศขบวนการเสรีไทย
ข่าวสาร/กิจกรรม
ข่าวประชาสัมพันธ์ห้องสมุด
ปฏิทินกิจกรรม
กิจกรรมประจำสัปดาห์
กิจกรรมประจำสัปดาห์
มุมดีๆ ที่เสรีไทย
สารสนเทศขบวนการเสรีไทย
E-Books
ระบบสืบค้นหนังสือ
ถาม ตอบ
หนังสือแนะนำ
หนังสือดีที่น่าอ่าน
นิตยสารดีที่น่าอ่าน
หน้าแรก
หนังสือและสิ่งพิมพ์
นิตยสารดีที่น่าอ่าน
นิตยสารดีที่น่าอ่าน
กลับไปหน้าหลัก
นิตยสารสารคดี ฉบับที่ 463 ตุลาคม 2566
#นิตยสารประจำเดือน
#ตุลาคม
2566
#ห้องสมุดและพิพิธภัณฑ์เสรีไทยอนุสรณ์
#กิจกรรมส่งเสริมการอ่านออนไลน์
#นิตยสารสารคดี
ฉบับที่ 463 ตุลาคม 2566
***๒๔๗๖ กบฏบวรเดช***
^^^ไฮไลท์ ประจำฉบับ^^^
หากจะนับว่าการอภิวัฒน์ ๒๔๗๖ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ไม่นองเลือด เป็นลักษณะ "ประนีประนอมรอมชอม" ของสังคมไทยที่ทำให้เราเปลี่ยนผ่านสู่ประชาธิปไตยแบบไม่ต้องสังเวยชีวิต ผู้รู้ท่านหนึ่งบอกว่านั่นเป็นความเชื่อที่ผิด เพราะ "ฉากจริง" ของ "การอภิวัฒน์" เกิดขึ้นในปีถัดมา
หลังความพยายามประนีประนอมตลอดขวบปีล้มเหลว ปลายปี ๒๔๗๖ ส่วนหนึ่งของเครือข่ายระบอบเก่าก็ยกกำลังเจ้าปะทะระบอบใหม่ เกิดเป็นสงครามกลางเมืองครั้งแรกในยุคประชาธิปไตยหัดเดินของสยาม
สมรภูมิหลักเกิดขึ้นที่ทุ่งบางเขน ตามแนวรางรถไฟไปจนสุดขอบที่ราบสูง ผลแพ้ชนะทิ้งร่องรอยความทรงจำและมรดกทางการเมืองไว้มากมาย
ยังไม่นับ "สงครามความทรงจำ" ที่ยังคงดำเนินจนถึงปัจจุบัน เมื่อประวัติศาสตร์ "กบฏบวรเดช" ถูกนำมาตีความใหม่ภายใต้สถานการณ์วิกฤตการเมืองไทยรอบล่าสุดที่กินเวลานานเกือบ 2 ทศวรรษ
***Scoop***
๒๔๗๖ กบฏบวรเดช
๓ มุมมอง กรณีกบฏบวรเดช
-ปฐมาวดี วิเชียรนิตย์
-ผศ.ดร. ศรัญญู เทพสงเคราะห์
-นริศ จรัสจรรยาวงศ์
"มรดก" หลังปราบกบฏบวรเดช
***Interview***
คุยกับหลาน ปรีดี พนมยงค์
ดร. อนวัช ศกุนตาภัย
ศาสตราจารย์ประจำสถาบันปาสเตอร์
ผู้พัฒนาวัคซีนไข้เลือดออกชนิดใหม่
#ขอบคุณ
: นิตยสารสารคดี
#ติดตามข่าวสารกิจกรรมห้องสมุดและพิพิธภัณฑ์เสรีไทยอนุสรณ์
ได้ที่
Facebook : ห้องสมุดและพิพิธภัณฑ์เสรีไทยอนุสรณ์
https://www.facebook.com/serithai.library
Website :
http://bangkoklibrary.go.th/web19
02-376-1400
แชร์