Main Menu
ไทย
Eng
ติดต่อเรา
แบบสอบถาม
โพลล์สำรวจ
สมัครสมาชิกห้องสมุด
Facebook
หน้าหลัก
ข้อมูลห้องสมุด
รู้จักหอสมุด
บริการ
หนังสือและสิ่งพิมพ์
ยืม-คืน อุปกรณ์
ห้องค้นคว้า
ห้องวีดีทัศน์
จอง/ขอใช้บริการ
ตู้ล็อกเกอร์
ฟรีอินเตอร์เน็ต
บริการอื่นๆ
อีบุ้คและมัลติมีเดีย
หนังสือและสิ่งพิมพ์
บรรณนิทัศน์ออนไลน์
หนังสือดีที่น่าอ่าน
นิตยสารดีที่น่าอ่าน
หนังสือใหม่
E-Books
บทความ
สาระน่ารู้
แหล่งความรู้อื่นๆ
สารสนเทศขบวนการเสรีไทย
ข่าวสาร/กิจกรรม
ข่าวประชาสัมพันธ์ห้องสมุด
ปฏิทินกิจกรรม
กิจกรรมประจำสัปดาห์
กิจกรรมประจำสัปดาห์
มุมดีๆ ที่เสรีไทย
สารสนเทศขบวนการเสรีไทย
E-Books
ระบบสืบค้นหนังสือ
ถาม ตอบ
หนังสือแนะนำ
หนังสือดีที่น่าอ่าน
นิตยสารดีที่น่าอ่าน
หน้าแรก
บทความ
สาระน่ารู้
สาระน่ารู้
กลับไปหน้าหลัก
ชวนดูดาว "ดาวอังคาร"โคจรใกล้โลกที่สุด
#สาระน่ารู้ชวนดูดาว
"ดาวอังคาร"โคจรใกล้โลกที่สุด
#ห้องสมุดและพิพิธภัณฑ์เสรีไทยอนุสรณ์
#กิจกรรมส่งเสริมการอ่านออนไลน์
ชวนดู “ดาวอังคาร”โคจรใกล้โลกที่สุดตลอด เดือนธันวาคม 2565
ว่ากันว่า “ท้องฟ้าในเดือนธันวาคม” เป็นท้องฟ้าที่สวยที่สุดในรอบปี เพราะเป็นท้องฟ้าหน้าหนาวที่ปลอดโปร่ง และมีเมฆน้อย เหมาะแก่การออกไปนอนดูดาวเป็นพิเศษ ในเดือนธันวาคม ปี 2565 นี้ก็มีปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ที่น่าสนใจให้ติดตามมากมาย ALTV จึงรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ไว้เพื่อร่วมเฝ้ามองความงดงามบนท้อง ส่งท้ายปีไปพร้อมกัน .1 ธันวาคม 65 : ดาวอังคารใกล้โลกที่สุด (Mars Closest Approach)
8 ธันวาคม 2565 : ดาวอังคาร โลก และดวงอาทิตย์ เรียงตัวอยู่ในเส้น เดียวกัน (Opposition Mars)
14 - 17 ธันวาคม 2565 : ฝนดาวตก “คนคู่” (Geminids) ดาวตกประจำเดือนธันวาคม
★ช่วงเวลาเริ่มสังเกตการณ์: ช่วงเวลา 20:00 น.
★คืนที่มีมากที่สุด : คืนวันที่ 14 จนถึงเช้ามืดวันที่ 15 ธันวาคม 65
★ชั่วโมงที่คาดว่าจะเห็นดาวตกมากที่สุด : เวลา 22:00 - 23"00 น
7, 11, 15, 19, 23, 27 และ 31 ธันวาคม 2565 เกิด “แสงสนธยา” ท้องฟ้าหลากสี (Twilight/ Dawn)
★ช่วงเวลาเริ่มสังเกตการณ์ : ช่วงเช้า 06:29 - 06:41 น. และช่วงเย็นเวลา 17:50 - 18:01 น.เชื่อว่าใครหลายคนคงหลงใหลท้องฟ้าในช่วงพลบค่ำ ที่มีทั้งสีเหลืองทอง ส้ม แดง หรือชมพูผสมกันดั่งภาพวาด แสงลักษณะนี้เรียกว่า “แสงสนธยา” พบได้ใน 2 ช่วงเวลา คือ ก่อนพระอาทิตย์ขึ้นและหลังพระอาทิตย์ตกประมาณ 10 - 15 นาที เกิดขึ้นขณะที่โลกหมุนรอบตัวเองเพื่อเปลี่ยนผ่านจากกลางวันสู่กลางคืน และกลางคืนสู่กลางวัน แสงของดวงอาทิตย์ที่กระจายอยู่ในชั้นบรรยากาศในตำแหน่งที่อยู่ต่ำกว่าบนพื้นโลกทำให้เกิดปรากฏการณ์ “ท้องฟ้าเปลี่ยนสี” เป็นสีสันต่าง ๆ บริเวณใกล้เส้นขอบฟ้า
ติดตามข่าวสารกิจกรรมห้องสมุดและพิพิธภัณฑ์เสรีไทยอนุสรณ์ ได้ที่
Facebook : ห้องสมุดและพิพิธภัณฑ์เสรีไทยอนุสรณ์
Website :
http://bangkoklibrary.go.th/web19
Tel. 02-376-1400
แชร์