Main Menu
ไทย
Eng
ติดต่อเรา
แบบสอบถาม
โพลล์สำรวจ
สมัครสมาชิกห้องสมุด
Facebook
หน้าหลัก
ข้อมูลห้องสมุด
การสมัครสมาชิกห้องสมุด
กิจกรรม
บริการ
หนังสือและสิ่งพิมพ์
ยืม-คืน อุปกรณ์
ห้องค้นคว้า
ห้องวีดีทัศน์
จอง/ขอใช้บริการ
ตู้ล็อกเกอร์
ฟรีอินเตอร์เน็ต
บริการอื่นๆ
อีบุ้คและมัลติมีเดีย
หนังสือและสิ่งพิมพ์
หนังสือมาใหม่
หนังสือแนะนำจากบรรณารักษ์
บรรณนิทัศน์ออนไลน์
E book
บทความ
บทความน่ารู้
แหล่งความรู้อื่นๆ
ข่าวสาร/กิจกรรม
ข่าวประชาสัมพันธ์ห้องสมุด
ปฏิทินกิจกรรม
กิจกรรม
กิจกรรม
ระบบสืบค้นหนังสือ
ถาม ตอบ
ชวนกันอ่าน
E-Book
หน้าแรก
บทความ
บทความน่ารู้
บทความน่ารู้
กลับไปหน้าหลัก
แนะนำมัสยิด
มัสยิดบ้านตึกดิน
Bann Tuek Din Mosque
เป็นชุมชนอิสลามดั้งเดิม คนในชุมชนส่วนใหญ่เป็นมุสลิม โดยชาวมุสลิมเหล่านี้ เดิมอาศัยอยู่แถบจังหวัดปัตตานี
ก่อนจะย้ายมาอยู่ในกรุงเทพตั้งแต่สมัยรัชกาลที่6 คำว่าบ้านตึกดินนี้ หมายถึง ดินปืน เพราะที่นี่เคยเป็นที่ตั้งของอาคารเก็บดินปืนขนาดใหญ่ ที่สร้างเอาไว้ตั้งแต่ต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมามีการขยายตัวของเมือง จึงมีการสร้างวัด มัสยิด และบ้านขุนนางรวมไปถึงพ่อค้าที่เพิ่มจำนวนมากขึ้น ตึกเก็บดินปืนจึงถูกทุบไปตั้งแต่นั้นมา ในอดีตผู้คนในชุมชนส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพทำทองคำเปลว และในปัจจุบันจึงแทบไม่หลงเหลือบ้านที่ยังคงทำทองคำเปลวอยู่ในชุมชนอีกแล้ว ชาวมัสยิดตึกดินยังมีชือเสียงด้านการทำอาหารมุสลิม อาทิ แกงหมั่นละน้อ มะตะบะ ข้าวหมกไก่ ฯลฯ
มัสยิดบ้านตึกดิน
ทางเข้าชุมชนและมัสยิดบ้านตึกดิน
ประตูรั้วหน้ามัสยิดบ้านตึกดิน
บริเวณทางเข้ามัสยิด
ภายในตัวอาคารมัสยิด จะมีมินบัรอยู่
เป็นแท่นเทศน์ในมัสยิดที่อิหม่าม (ผู้นำละหมาด) ยืนให้คำเทศนา
แบบจำลองตัวอาคารมัสยิด
บริเวณชั้นดาดาฟ้า กับเสาอาซาน
ประวัติของชุมชนมัสยิดบ้านตึกดิน
ขอขอบคุณ ภาพและข้อมูล
นายทำนุ เหล็งขยัน
นายอภิชาติ เจริญราชกุมาร
และ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
แชร์