Main Menu
ไทย
Eng
ติดต่อเรา
แบบสอบถาม
โพลล์สำรวจ
สมัครสมาชิกห้องสมุด
Facebook
Youtube
หน้าหลัก
ข้อมูลห้องสมุด
รู้จักหอสมุด
บริการ
หนังสือและสิ่งพิมพ์
หนังสือและสิ่งพิมพ์
หนังสือน่าอ่าน
บรรณนิทัศน์ออนไลน์
บทความ
บทความน่ารู้
ข่าวสาร/กิจกรรม
ข่าวประชาสัมพันธ์ห้องสมุด
ปฏิทินกิจกรรม
กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
ระบบสืบค้นหนังสือ
ถาม ตอบ
E-books
หน้าแรก
บทความ
บทความน่ารู้
บทความน่ารู้
กลับไปหน้าหลัก
“บัวลอย” สวยอันตราย ภัยร้ายต่อพื้นที่ชุ่มน้ำ
“บัวลอย” สวยอันตราย ภัยร้ายต่อพื้นที่ชุ่มน้ำ
หากกล่าวถึง
“บัวลอย”
หลายคนอาจนึกถึงบัวที่สวยงามชนิดหนึ่งซึ่งลอยอยู่พ้นผิวน้ำ แต่บัวลอยที่จะกล่าวถึงนี้ เป็นชื่อท้องถิ่นที่คนในแถบภาคเหนือใช้เรียก
“ผักตบชวา”
นั่นเอง ซึ่งมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Eichhornia crassipes (Mart.) Solms)
อันที่จริงพืชชนิดนี้เป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่น ที่มีแหล่งกำเนิดในทวีปอเมริกาใต้ โดยมีบันทึกการนำเข้ามามาในประเทศไทยจากเกาะชวา กว่า 100 ปีมาแล้ว ได้เจริญเติบโตและแพร่พันธุ์ในแม่น้ำลำคลองต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว จนกีดขวางลำน้ำ เป็นภัยคุกคามต่อระบบนิเวศพื้นที่ชุ่มน้ำอย่างกว้างขวาง จนถูกจัดว่าเป็น “พืชต่างถิ่นที่รุนราน” หรือ Invasive Alien Species ซึ่งส่งผลกระทบและเป็นอันตรายต่อชนิดพันธุ์พื้นเมือง
บัวลอยหรือผักตบชวา ซึ่งเป็นพืชลอยน้ำที่สามารถกระจายไปตามกระแสน้ำ ทนอากาศได้ทั้งร้อนและเย็น จึงผ่านพ้นฤดูกาลต่าง ๆ มาได้ และยังอยู่ได้แทบทุกสภาพน้ำ แม้ในแหล่งน้ำเสียบางแห่งที่พืชน้ำอื่น ๆ มักจะตายลง ทำให้มันสามารถเจริญเติบโตในแม่น้ำลำคลองที่รับน้ำเสียจากชุมชนเมืองต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี
อ่านต่อเรื่องราวทั้งหมดได้ที่
https://www.tei.or.th/th/article_detail.php?bid=168
--------------------------------------------------------------------
ขอขอบคุณข้อมูล/รูปภาพ : มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย (ม.ส.ท.)
Disclamer :ไม่ได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธิ์ สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น
#กิจกรรมส่งเสริมการอ่านออนไลน์
#การอ่านเป็นพื้นฐานของการมีชีวิตที่ดี
#ห้องสมุดสีเขียว
#ห้องสมุดในสวน
แชร์